-
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (12)ผลงานของจิตรกรหลีเหม่ยซู่
ผลงานของจิตรกรหลีเหมยซู่ (李梅樹 : 1902-1983)
ปี ค.ศ.1902 เกิดที่เขตซันเสีย กรุงไทเป
ปี ค.ศ.1910 จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนซันเจี่ยวหย่ง
ปี ค.ศ.1918-1922 ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยครูกรุงไทเปหรือมหาวิทยาลัยซือต้าในปัจจุบัน
ปี ค.ศ.1929-1934 ศึกษาต่อในสาขาภาพเขียนตะวันตก ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ปี ค.ศ.1947 เป็นหัวหน้าดูแลการก่อสร้างวัด Zushi Temple
ปี ค.ศ.1950 สมาชิกสภาเทศบาลกรุงไทเป 1 สมัย
ปี ค.ศ.1964 คณบดีคณะวิจิตรศิลป์ที่ National Taiwan University of Arts วิทยาเขตปั่นเฉียว
ปี ค.ศ.1967 เป็นผู้ก่อตั้งสาขาประติมากรรม ที่ National Taiwan University of Arts
ปี ค.ศ.1972 อาจารย์ปรจำมหาวิทยาลัย Chinese Culture University
ปี ค.ศ.1975 อาจารย์สอนวิจิตรศิลป์ที่มหาวทิยาลัยซือต้า
ปี ค.ศ.1983 ถึงแก่กรรม -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (11)ผลงานของจิตรกรหลีเหม่ยซู่
大家好
สวัสดีค่ะ
今天為大家介紹李梅樹創作於約1937年〈戲弄火雞的小孩〉
ในวันนี้จะมาแนะนำให้ทุกท่านได้รู้จักผลงานที่มีชื่อว่า เด็กแหย่ไก่งวง ของจิตรกร หลี่เหมยซู่ ประมาณปีค.ศ.1937
這張作品目前是李梅樹紀念館所典藏李梅樹油畫作品當中
ผลงานชิ้นนี้ปัจจุบันเป็นหนึ่งในผลงานภาพสีน้ำมันของเขาที่จัดเก็บไว้ในแกลอรี่รำลึกหลี่เหมยซู่
尺寸最大的一件作品
เป็นผลงานที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
它的尺寸是227 x 182公分
ภาพขนาด 227x112 ซม.
也就是150號的作品
และเป็นผลงานหมายเลข 150
這件作品左邊的小男孩是以李梅樹的長子
เด็กผู้ชายในภาพนี้คือบุตรชายคนโตของหลี่เหมยซู่
李景暘先生為模特兒
ชื่อว่า หลีจิ่งหยาง เป็นนายแบบของภาพ
右下角小女孩的模特兒是李梅樹的二女兒李麗月
ส่วนเด็กหญิงที่มุมขวาของภาพ นางแบบคือบุตรสาวคนที่สองของหลี่เหมยซู่ ชื่อว่า หลี่ลี่เยว่
當然
แน่นอนว่า
最主要的主角人物
บุคคลที่มีบทบาทสำคัญที่สุด
就是站在畫面中間的媽媽
คือคุณแม่ซึ่งยืนอยู่กลางภาพ
就是以李梅樹夫人當作模特兒
ก็คือภรรยาของหลี่เหมยซู่ เป็นนางแบบนั่นเอง
這個〈戲弄火雞的小孩〉內容非常的逗趣
เนื้อหาของภาพเด็กแหย่ไก่งวง เป็นแนวตลกขบขัน
這是一幅親子圖
เป็นภาพของแม่ลูก
差不多五、六年級生以上的都有這種鄉下的回憶跟經驗
เด็กประมาณชั้นป.5-ป.6 ขึ้นไป คงจะเคยมีความทรงจำและประสบการณ์ในชนบททำนองนี้
看到火雞來
เมื่อเห็นไก่งวงเดินมา
咕嚕咕嚕的就會想要去逗弄牠
ร้องกุ๊กๆ ก็อยากจะวิ่งเข้าไปแกล้งแหย่มันเล่น
媽媽親切又慈祥的呵護著
คุณแม่มีท่าทางเอ็นดูลูก
就連一旁的姐姐都是一副那種很悠哉的模樣
พี่สาวที่อยู่ข้างๆ อยู่ในอิริยาบถนั่งผ่อนคลาย
跟弟弟非常逗趣的戲弄火雞的動作
กับน้องชายที่มีกิริยาสนุกสนานไปกับการแหย่ไก่เล่น
剛好成一個對比
ท่าทางแตกต่างกันออกไป
媽媽拿著籃子好像要餵食火雞
คุณแม่ถือตะกร้าเหมือนจะให้อาหารไก่งวง
或者做關照小孩的這一個動作
หรือไม่ก็กำลังดูแลลูกอยู่
感覺非常的生動
เป็นภาพที่ดูมีชีวิตชีวามาก
整張的畫法
สไตล์การวาดรูปภาพนี้
比較偏向於後期印象派高更(Paul Gauguin,1848~1903)
ค่อนข้างไปทางสไตล์ปอล โกแก็ง ยุคปลายอิมเพรสชันนิสม์ ค.ศ.1848-1903
比較強調力量
ที่เน้นความมีพลัง
比較強調塊面的色彩表現
เน้นการแสดงออกแต่ละส่วนของภาพด้วยสีสัน
特別來介紹一下
จุดที่ต้องแนะนำเป็นพิเศษในภาพนี้ก็คือ
就是媽媽右腳表現的手法
เทคนิคการวาดภาพเท้าข้างขวาของคุณแม่
在紀念館導覽的時候
เมื่อชมภาพในแกลอรี่รำลึกหลี่เหมยซู่
很多觀眾怎麼走到右邊、走到中間、走到左邊
ผู้ชมหลายคนจะพบว่าไม่ว่าจะเดินไปทางขวา เดินมาตรงกลาง หรือเดินไปทางซ้าย
這個腳尖都會跟著我們走
ปลายเท้าของคุณแม่ในภาพก็จะหันตามเรามาด้วย
包括小男孩的左手
รวมถึงมือซ้ายของเด็กผู้ชาย
這種感覺也是一樣哦
ก็รู้สึกได้ในลักษณะเดียวกัน
我們今天就為各位來揭開這樣的一個秘密
วันนี้เราจะเปิดเผยความลับนี้ให้ทุกท่านทราบกัน
這個跟月亮跟著我們跑的道理差不多
นี่เป็นตรรกะคล้ายกันกับการที่ดวงจันทร์วิ่งตามเรา
月亮離我們很遠
ดวงจันทร์อยู่ห่างไกลจากเรามาก
但是我們跑到哪裡
แต่ไม่ว่าเราจะวิ่งไปที่ไหน
好像月亮就一直跟著跑
ก็เหมือนดวงจันทร์วิ่งตามเราตลอด
〈戲弄火雞的小孩〉圖中的媽媽
คุณแม่ที่อยู่ในภาพ “เด็กแหย่ไก่งวง”
右腳的腳尖直直的對著我們欣賞畫的人
ปลายเท้าขวาจะหันไปตามผู้ที่กำลังชมภาพ
這樣的一個作品在美術的技巧上面
ผลงานในลักษณะนี้ใช้ทักษะทางวิจิตรศิลป์
叫做“前縮透視法” (foreshortening)
ที่เรียกว่า foreshortening
所謂“前縮”是指所描繪的對象、或是作者、或者欣賞者的眼睛
ซึ่งหมายถึงทำให้ภาพวาดนั้นเสมือนอยู่ตรงหน้าสายตาของเป้าหมาย, ผู้เขียน หรือผู้ชม
正對著的前方或者是微側方
ไม่ว่าจะอยู่ตรงๆ ข้างหน้า หรือเบี่ยงไปด้านข้างก็ตาม
因為描繪的
เพราะว่าภาพวาดนี้
各位可以注意看媽媽右腳及小孩左手的地方
ทุกคนจะให้ความสนใจไปที่เท้าขวาของคุณแม่และมือซ้ายของลูก
描繪的部份會壓縮在比較短的視覺深度的空間
การวาดภาพในส่วนนั้นจะต้องย่อระยะความลึกของการมองเห็นให้สั้นลง
所以表現出來的
จึงจะสามารถมองเห็นได้แบบนั้น
自然就會有這種移動當中
โดยธรรมชาติ การเคลื่อนที่ในลักษณะนี้
有這種2D的畫面變成3D的動態
จะทำให้ภาพวาดสองมิติกลายเป็นภาพวาดสามมิติ
這個是在構圖上比較特別的
นี่คือลักษณะที่ค่อนข้างพิเศษในองค์ประกอบภาพ
另外跟各位介紹
นอกจากนี้ ที่อยากจะแนะนำให้คุณผู้ชมได้ทราบก็คือ
李梅樹這張作品的兩大特色
ผลงานของหลี่เหมยซู่ชิ้นนี้ มีความโดดเด่น 2 ประการ
一、剛才有說過了
ประการแรก ได้กล่าวไปเรียบร้อยแล้ว
這比較傾向於後期印象派比較強調面性的繪畫方式
ภาพนี้ใช้วิธีการวาดภาพในแนวอิมเพรสชันนิสม์ยุคปลาย
呈現出來比較有力量的感覺
ที่แสดงออกถึงความรู้สึกมีพลัง
包括人物、左邊的樹木、遠景的遠山
รวมทั้งภาพบุคคล, ต้นไม้ทางด้านซ้าย และภูเขาที่อยู่ไกลออกไป
第二個呈現出來的就是
ประการที่ 2 ที่เห็นได้ชัดก็คือ
整個構圖的氛圍比較有變化
บรรยากาศขององค์ประกอบภาพทั้งหมดดูมีการเคลื่อนไหว
連左邊的火雞的構圖也是有一些變化
องค์ประกอบภาพที่เป็นไก่งวงทางด้านซ้ายก็เคลื่อนไหวด้วย
增加了畫面的生動性
เพิ่มความสดใสมีชีวิตชีวาให้กับภาพ
因此
ดังนั้น
〈戲弄火雞的小孩〉可以說是
อาจกล่าวได้ว่าภาพ “เด็กแหย่ไก่งวง”
李梅樹在日治時代所留下來的一張非常精采的親子圖
เป็นภาพแม่ลูกที่ยอดเยี่ยมภาพหนึ่งของหลี่เหมยซู่ที่หลงเหลือจากสมัยญี่ปุ่นปกครองไต้หวัน -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (10)ผลงานของจิตรกรหลีเหม่ยซู่
หลี่เหมยซู่ (ค.ศ.1902-1983)
●ภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ซานเสีย นครนิวไทเป สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยครุศาสตร์ไทเปและวิทยาลัยศิลปะโตเกียว ภาควิชาจิตรกรรมตะวันตก
●อุทิศตนให้กับการวาดภาพในถิ่นกำเนิดจนมีชื่อเสียงและเป็นผู้นำการบูรณะ ซ่อมแซมศาลเจ้าซานเสียจู่ซือ
● เป็นสมาชิกรุ่นบุกเบิกของสมาคมวิจิตรศิลป์ไถหยาง
ผู้อำนวยการ ภาควิชาวิจิตรศิลป์และประติมากรรม วิทยาลัยศิลปะแห่งชาติ อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยวัฒนธรรม(PCCU) และมหาวิทยาลัยครุศาสตร์(NTNU)
●เคยได้รับรางวัลจาก การประกวดผลงานวิจิตรศิลป์ไต้หวัน ประเภทผลงานดีเด่น ผลงานยอดเยี่ยมของไต้หวันและผลงานยอดเยี่ยมโดยไม่ต้องผ่านการประกวด
นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานวิจิตรศิลป์ใหม่ กระทรวงวัฒนธรรมญี่ปุ่น ครั้งที่ 3 และ 4
●ได้รับเลือกเป็น “บุคคลดีเด่นแห่งชาติ” สภาบริหาร ไต้หวันสาธารณรัฐจีน มอบป้ายประกาศเกียรติคุณ “德藝兼脩”(หมายถึง ยึดมั่นคุณธรรมและศิลปะ
(ธ.ค.1971)
●จัดนิทรรศการรำลึกอดีต 80 ปี ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติและจัดพิมพ์ “ผลงานภาพเขียนสีน้ำมันของหลี่เหมยซู่” (ธ.ค.1982)
李梅樹1902-1983
●新北市三峽人,畢業於台北師範學校及東京美術學校西畫科
●一生以鄉土寫實繪畫聞名及主持三峽祖師廟重建
●臺陽美術協會創始會員之一,藝專美術科及雕塑科主任,文大、師大教授
●臺展榮獲特選、臺展賞、無鑑查等;日本第三及第四屆新文展
●當選全國好人好事代表,榮獲行政院頒「德藝兼脩」匾額 (1971.12)
●於國立歷史博物館舉行八十回顧展,並出版「李梅樹油畫集」(1982.12) -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (9)ผลงานของจิตรกรหลีเหม่ยซู่
-
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (8)ประวัติย่อ ลวี่เที่ยโจว
ประวัติย่อ ลวิเถี่ยโจว (呂鐵州) (1899-1942)
ปี 1899 เกิดที่ต้าซี เถาหยวน
ปี 1913 จบการศึกษาจากโรงเรียนต้าซี
ปี 1915 ศึกษาต่อในสถาบันอุตสาหกรรมไต้หวัน เป็นเวลา 2 ปี ก็พักการเรียน
ปี 1920 สมาชิกสมาคมถนนต้าซี
ปี 1923 ย้ายบ้านไปที่ต้าต้าวเฉิง เริ่มกิจการโรงงานเย็บปักถักร้อย
ปี 1928 ไปศึกษาต่อจิตรกรรมที่เกียวโต ญี่ปุ่น
ปี 1930 เดินทางกลับไต้หวัน
ปี 1933 จัดตั้งสมาคมลี่กวง
ปี 1942 ถึงแก่กรรม -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (7) หนีเจี่ยงฮวาย
-
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (6) หวงถูสุ่ย
หวงถูสุ่ย (1895-1930)
ปีค.ศ.1895 เกิดที่เขตเมิ่งเจี่ย กรุงไทเป
ปีค.ศ.1911 ศึกษาที่วิทยาลัยครูไต้หวัน
ปีค.ศ.1915 ศึกษาสาขาการแกะสลักไม้ ที่โรงเรียนศิลปะโตเกียว
ปีค.ศ.1920 เข้าร่วมนิทรรศการจักรพรรดิญี่ปุ่นครั้งที่ 2
ปีค.ศ.1922 จบการศึกษาระดับปริญญาโทที่ โรงเรียนศิลปะโตเกียว
ปีค.ศ.1927 เข้าร่วมงานนิทรรศการต่างๆ ในไต้หวัน
ปีค.ศ.1930 เสียชีวิตที่ประเทศญี่ปุ่น
https://youtu.be/jhvtFcU_S2s
1895年生於台北艋舺
1911年就讀國語學校公學師範部
1915年就讀東京美術學校木雕科
1920年入選日本第二回帝展
1922年東京美術學校研究科畢業
1927年在台北舉行個展
1930年於日本過世 -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (5) ชิโอสึกิ โทโฮ (Shiotsuki Tōho)
ชื่อจริง : ชิโอสึกิ โทโฮ (Shiotsuki Tōho) (ค.ศ. 1886-1954)
เกิดที่จังหวัดมิยาซากิจ ญี่ปุ่น
ปี 1909 เข้าศึกษาคณะบรรณารักษ์ศาสตร์ วิทยาลัยศิลปากรโตเกียว
ปี 1921 เดินทางมาเป็นอาจารย์ในไต้หวันนานกว่า 20 ปี ณ โรงเรียนมัธยมที่ 1 ไทเป และวิทยาลัยระดับสูงไทป
ปี 1927-1943 ได้รับเชิญเป็นกรรมการคัดเลือกผลงานเข้าร่วมมหกรรมศิลปะของทางการรวม 16 ครั้ง
ปี 1946 เดินทางกลับญี่ปุ่น -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (4)อิชิคาว่า คินิชิโร-ฟอร์โมซา
อิชิคาว่า คินิชิโร (1871 – 1945)
.เกิดในตระกูลขุนนางที่เสื่อมอำนาจในจังหวัดชิซูโอกะ ( Shizuoka) ของญี่ปุ่น
. ผ่านการศึกษาในโรงเรียนอาชีวศึกษาโทรคมนาคม ในสังกัดกระทรวงคมนาคม
.1907 – 1916 มาไต้หวันครั้งที่ 1 เป็นล่ามทหาร ในศาลาผู้ตรวจการไต้หวัน
.1924 – 1932 มาไต้หวันครั้งที่ 2 เป็นอาจารย์ศิลปะมหาวิทยาลัยครูไต้หวัน
ภาพวาดสีน้ำของอิชิคาวา มีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการภาพวาดของไต้หวัน
石川欽一郎(1871-1945)
•出身日本靜岡沒落幕府官員之家
•進入遞信省(交通部) 東京郵便電信實技學校學習
•1907年至1916年第一次來台,擔任台灣總督府陸軍部通譯官
•1924年至1932年應邀第二次來台,擔任台北師範學校美術教師,
石川欽一郎的水彩畫風,對台灣畫壇產生深遠影響 -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (3) อิชิคาว่า คินิชิโร-ฟอร์โมซา
อิชิคาว่า คินิชิโร (1871 – 1945)
.เกิดในตระกูลขุนนางที่เสื่อมอำนาจในจังหวัดชิซูโอกะ ( Shizuoka) ของญี่ปุ่น
. ผ่านการศึกษาในโรงเรียนอาชีวศึกษาโทรคมนาคม ในสังกัดกระทรวงคมนาคม
.1907 – 1916 มาไต้หวันครั้งที่ 1 เป็นล่ามทหาร ในศาลาผู้ตรวจการไต้หวัน
.1924 – 1932 มาไต้หวันครั้งที่ 2 เป็นอาจารย์ศิลปะมหาวิทยาลัยครูไต้หวัน
ภาพวาดสีน้ำของอิชิคาวา มีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการภาพวาดของไต้หวัน
石川欽一郎(1871-1945)
•出身日本靜岡沒落幕府官員之家
•進入遞信省(交通部) 東京郵便電信實技學校學習
•1907年至1916年第一次來台,擔任台灣總督府陸軍部通譯官
•1924年至1932年應邀第二次來台,擔任台北師範學校美術教師,
石川欽一郎的水彩畫風,對台灣畫壇產生深遠影響 -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (2) เฉินเฉิงพัว-ทัศนียภาพหน้าร้อน
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (2) เฉินเฉิงพัว-ทัศนียภาพหน้าร้อน -
【RTI】พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (1) เฉินเฉิงพัว-โรงย้อมผ้ายามบ่าย
เฉินเฉิงพัว (1895-1947) ●เกิดในปีค.ศ. 1895 ●เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาเจียอี้(ปัจจุบันคือโรงเรียนประถมศึกษาฉงเหวิน เมืองเจียอี้)ในปี ค.ศ.1907 ● จบการศึกษาจากโรงเรียนภาษาจีนประจำทำเนียบผู้ว่าการมณฑลไต้หวันในปี ค.ศ.1917 ● เข้าศึกษาต่อในสาขาจิตรกรรมของTokyo University of the Artsในปี ค.ศ.1924 ● ผลงานถูกคัดเลือกให้นำแสดงในนิทรรศการศิลปะแห่งจักรวรรดิ์นิยมครั้งที่ 7 ในปีค.ศ.1926 (จัดขึ้นเป็นประจำในช่วงระหว่างวันที่ 16 ต.ค.-20 พ.ย.ของทุกปี) ● จบการศึกษาระดับปริญญาโทจาก Tokyo University of the Arts ในปี ค.ศ. 1929 ผลงานชื่อ ต้นฤดูใบไม้ผลิ(Early Spring :早春) แม่น้ำที่ใสสะอาด (Clear river: 清流) ยามบ่ายในห้องปั่นใยไหม( silk spun’s Afternoon : 綢坊之午後)ถูกนำไปจัดแสดงในงานนิทรรศการของสมาคมศิลปะแห่งชาติครั้งที่ 1 ซึ่งจัดโดยกระทรวงศึกษาธิการในนครเซี่ยงไฮ้ ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาจิตรกรรมตะวันตก มหาวิทยาลัยศิลปะซินหัว นครเซี่ยงไฮ้ ●ชนะการเลือกตั้งตำแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลเมืองเจียอี้สมัยที่ 1 ในปี 1946 ดำรงตำแหน่ง กรรมการพิจารณาคัดเลือกผลงานที่จัดแสดงในงานนิทรรศการศิลปะมณฑลไต้หวันครั้งที่ 1 และมีผลงานเข้าร่วมจัดแสดงด้วย ●ถูกประหารชีวิตที่หน้าสถานีรถไฟเจียอี้ เนื่องจากพัวพันกับเหตุการณ์โศกนาฎกรรม 28 ก.พ. ปี ค.ศ. 1947
首頁 พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ภาพและเสียง (Thai)